Jump to content
กระดานทองคำ

Gcap GuRu

Members
  • Content Count

    1002
  • Joined

  • Last visited

Everything posted by Gcap GuRu

  1. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 13/1/2557 แนวโน้มราคาทองคำช่วงเช้า แนวรับ 1,230 1,218 1,210 แนวต้าน 1,256 1,267 1,287 ดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลงแม้ว่ามีข้อมูลที่บ่งชี้ถึงความแข็งแกร่งของตลาดแรงงานภายในประเทศก็ตาม โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยว่า จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกในรอบสัปดาห์ที่ปรับตัวลดลง 15,000 ราย สู่ระดับ 330,000 ราย นักลงทุนในตลาดการเงินจับตาดู ข้อมูลด้านแรงงานของสหรัฐอย่างใกล้ชิด เพราะจะเป็นปัจจัยชี้น่าว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะปรับลดขนาดมาตรการ QE ลงอีกหรือไม่ แนวโน้มสัปดาห์หน้า (13-17ม.ค. 2557) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.95-33.30 บาทต่อดอลลาร์ โดยต้องจับตาสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศช่วงต้นสัปดาห์ ขณะที่ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ สต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจ ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิเดือนพ.ย. ยอดค้าปลีก ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีราคาผู้ผลิต ข้อมูลการเริ่มสร้างบ้าน การอนุญาตก่อสร้าง การผลิตภาคอุตสาหกรรม งบประมาณของรัฐบาลกลางเดือนธ.ค. ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัย ผลสำรวจแนวโน้มธุรกิจของเฟดสาขาฟิลาเดลเฟีย ผลสำรวจภาคการผลิตของเฟดสาขานิวยอร์ก ดัชนีความเชื่อมั่น ผู้บริโภค (ตัวเลขเบื้องต้น) เดือนม.ค. และจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ สัญญาทองคำได้รับปัจจัยบวกจากแรงซื้อเก็งกำไร หลังจากราคาดิ่งลงติดต่อกันหลายวันก่อนหน้านี้ นอกจากนี้ สัญญาทองคำยังดีดตัวขึ้นหลังจากรายงานการประชุมการเงินประจ่าเดือนธ.ค.ของเฟดไม่ได้ระบุชัดเจนว่าเฟดจะปรับลดขนาดมาตรการ QE อีกเมื่อใด อย่างไรก็ตาม นักลงทุนวิตกกังวลว่าข้อมูลแรงงานที่แข็งแกร่งของสหรัฐอาจจะทำให้เฟดเริ่มพิจารณาการปรับลดขนาด QE ลงอีก โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย แนะแนวทางการลงทุน ราคายังไม่ผ่าน $ 1,256 Us/Oz มีโอกาสย่อพักตัวมาที่แนวรับหาจังหวะเปิด Shot ที่แนวต้าน เน้นทำกำไรรอบสั้น ๆ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา เงินบาทอ่อนค่าตามสกุลเงินในเอเชีย หลังจากที่ค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐฯยังคงแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงินส่าคัญทั่วทั้งโลก เนื่องจากนักลงทุนกังวลต่อการปรับลดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ(QE)ของเฟด แนวโน้มสัปดาห์หน้า (13-17 ม.ค. 2557) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.95-33.30 บาทต่อดอลลาร์ โดยต้องจับตาสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศช่วงต้นสัปดาห์ ขณะที่ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ สต็อกสินค้าคงคลังภาคธุรกิจ ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิเดือนพ.ย. ยอดค้าปลีก ดัชนีราคาผู้บริโภค ดัชนีราคาผู้ผลิต ข้อมูลการเริ่มสร้างบ้าน การอนุญาตก่อสร้าง การผลิตภาคอุตสาหกรรม งบประมาณของรัฐบาลกลางเดือนธ.ค. ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัย ผลสำรวจแนวโน้มธุรกิจของเฟดสาขาฟิลาเดลเฟีย ผลสำรวจภาคการผลิตของเฟดสาขานิวยอร์ก ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (ตัวเลขเบื้องต้น) เดือนม.ค. และจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ สกุลเงินยูโรแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์ก หลังจากธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยที่ระดับต่ำสุดเป็นประวัติการณ์ในการประชุมเมื่อวานนี้ ส่วนเงินปอนด์แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบดอลลาร์ หลังจากธนาคารกลางอังกฤษมีมติคงอัตราดอกเบี้ยในการประชุมเมื่อวานนี้เช่นกัน
  2. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 10/1/2557 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,215 1,203 1,177 แนวต้าน (Resistance) 1,236 1,250 1,259 ดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลงแม้ว่ามีข้อมูลที่บ่งชี้ถึงความแข็งแกร่งของตลาดแรงงานภายในประเทศก็ตาม โดยเมื่อช่วงค่่าวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยว่า จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกในรอบสัปดาห์ที่สิ้นสุดวันที่ 4 ม.ค. ปรับตัวลดลง 15,000 ราย สู่ระดับ 330,000 ราย ซึ่งเป็นการปรับตัวลงมากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดว่าจะลดลงสู่ระดับ 335,000 ราย นักลงทุนในตลาดการเงินจับตาดูข้อมูลด้านแรงงานของสหรัฐอย่างใกล้ชิด เพราะจะเป็นปัจจัยชี้นำว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะปรับลดขนาดมาตรการ QE ลงอีกหรือไม่ หลังจากที่การประชุมเดือนพ.ย.ปีที่แล้ว เฟดมีมติปรับลดขนาด QE ด้วยการลดวงเงินการซื้อพันธบัตรลง 1 หมื่นล้านดอลลาร์ สู่ระดับ 7.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน จากเดิม 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน สัญญาทองคำได้รับปัจจัยบวกจากแรงซื้อเก็งก่าไร หลังจากราคาดิ่งลงติดต่อกันหลายวันก่อนหน้านี้ นอกจากนี้ สัญญาทองคำยังดีดตัวขึ้นหลังจากรายงานการประชุมการเงินประจำเดือนธ.ค.ของเฟดไม่ได้ระบุชัดเจนว่าเฟดจะปรับลดขนาดมาตรการ QE อีกเมื่อใด อย่างไรก็ตาม นักลงทุนวิตกกังวลว่าข้อมูลแรงงานที่แข็งแกร่งของสหรัฐอาจจะทำให้เฟดเริ่มพิจารณาการปรับลดขนาด QE ลงอีก โดยเมื่อช่วงค่่าวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยว่า จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานครั้งแรกในรอบสัปดาห์ที่สิ้นสุดวันที่ 4 ม.ค. ปรับตัวลดลง 15,000 ราย สู่ระดับ 330,000 ราย ซึ่งเป็นการปรับตัวลงมากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดว่าจะลดลงสู่ระดับ 335,000 ราย นอกจากนี้ ธนาคารรายใหญ่หลายแห่งยังได้ปรับลดคาดการณ์ราคาทองคำ โดยแบงก์ ออฟ อเมริกา เมอร์ริล ลินช์ ปรับลดคาดการณ์ราคาทองค่าในปี 2557 ลง 11% สู่ระดับ 1,150 ดอลลาร์/ออนซ์ ขณะที่ธนาคารบาร์เคลย์คาดว่าราคาทองคำโดยเฉลี่ยในปี 2557 จะอยู่ที่ 1,205 ดอลลาร์/ออนซ์ แนะแนวทางการลงทุน หากราคายังไม่ผ่าน $ 1,236 Us/Oz อาจจะมีการพักตัวลงมาอีกครั้ง ถ้าจะเข้าซื้อรอราคาอ่อนตัวลงมาที่แนวรับ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา เงินบาทอ่อนค่าตามสกุลเงินในเอเชีย หลังจากที่ค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐฯยังคงแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงินสำคัญทั่วทั้งโลก เนื่องจากนักลงทุนกังวลต่อการปรับลดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ(QE)ของเฟด สกุลเงินยูโรแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (9 ม.ค.) หลังจากธนาคารกลางยุโรป (อีซีบี) มีมติคงอัตราดอกเบี้ยที่ระดับต่่าสุดเป็นประวัติการณ์ในการประชุมเมื่อวานนี้ ส่วนเงินปอนด์แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบดอลลาร์ หลังจากธนาคารกลางอังกฤษมีมติคงอัตราดอกเบี้ยในการประชุมเมื่อวานนี้เช่นกัน อย่างไรก็ตาม แรงหนุนจากเงินต่างประเทศที่เข้าซื้อสินทรัพย์เสี่ยงในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่งผลให้ต่างชาติซื้อเป็นยอดสุทธิ 3 วันติดต่อกัน ทำให้เกิดการชะลอการขายเงินบาทของนักลงทุน แม้ว่าเงินบาทจะยังคงรับข่าวร้ายจากสถานการณ์การเมืองในประเทศก็ตาม ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 33.00-33.24 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 33.294/ บาท/ดอลลาร์
  3. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 9/1/2557 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,214 1,203 1,180 แนวต้าน (Resistance) 1,244 1,253 1,256 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (8 ม.ค.) หลังจากรายงานการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ระบุว่า กรรมการเฟดส่วนใหญ่ของเฟดให้การสนับสนุนการปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) และส่งสัญญาณว่าอาจจะลดขนาดมาตรการ QE ลงอีกในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า ดอลลาร์สหรัฐได้รับแรงหนุนจากข้อมูลของ ADP ที่ระบุว่า ภาคเอกชนทั่วสหรัฐมีการจ้างงานเพิ่มขึ้น 238,000 ตาแหน่งในเดือนธ.ค. ขณะที่นักวิเคราะห์คาดว่าตัวเลขดังกล่าวจะเพิ่มขึ้นเพียง 200,000 ตาแหน่ง ราคาทองคาวานนี้ (7 ม.ค.) ปิดลบพอสมควร หลังข้อมูลการค้าของสหรัฐฯส่งผลให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น สัญญาทองคาตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.ร่วงลง 4.1 ดอลลาร์ หรือ 0.33% ปิดที่ 1,225.5 ดอลลาร์/ออนซ์ หลังจากเคลื่อนตัวในช่วง 1231.8 - 1217.7 ดอลลาร์ สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงเมื่อคืนนี้ (8 ม.ค.) เนื่องจากข้อมูลด้านการจ้างงานที่แข็งแกร่งของภาคเอกชนสหรัฐ ทำให้นักลงทุนลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย แนะแนวทางการลงทุน ราคาผ่านแนวต้านแรกไม่ได้แนะเปิด Shot สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา เงินบาทอ่อนค่าตามสกุลเงินในเอเชีย หลังจากที่ค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐฯยังคงแข็งค่าขึ้นอย่างต่อเนื่อง เมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงินสำคัญทั่วทั้งโลก เนื่องจากนักลงทุนกังวลต่อการปรับลดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ(QE)ของเฟด อย่างไรก็ตาม แรงหนุนจากเงินต่างประเทศที่เข้าซื้อสินทรัพย์เสี่ยงในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ส่งผลให้ต่างชาติซื้อเป็นยอดสุทธิ 3 วันติดต่อกัน ทาให้เกิดการชะลอการขายเงินบาทของนักลงทุน แม้ว่าเงินบาทจะยังคงรับข่าวร้ายจากสถนการณ์การเมืองในประเทศก็ตาม ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือนจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 33.00-33.24 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 33.294/ บาท/ดอลลาร์
  4. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 8/1/2557 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,220 1,214 1,203 แนวต้าน (Resistance) 1,244 1,253 1,256 ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นหลังจากกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐรายงานว่า ยอดขาดดุลการค้าสินค้าและบริการของสหรัฐในเดือนพ.ย. ปรับตัวลดลง 12.9% สู่ระดับ 3.425 หมื่นล้านดอลลาร์ จากระดับ 3.933 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากยอดส่งออกของสหรัฐขยายตัว 0.9% จากเดือนก่อนหน้า สู่ระดับ 1.9486 แสนล้านดอลลาร์ในเดือนพ.ย. ซึ่งเป็นระดับสูงสุดเป็นประวัติการณ์ ทั้งนี้ ยอดขาดดุลที่ลดลงอย่างมากในเดือนพ.ย.อาจหมายความว่า เศรษฐกิจสหรัฐในไตรมาส 4 อาจขยายตัวเร็วกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ไว้ โดยยอดขาดดุลที่ลดลงหมายความว่าสหรัฐขายสินค้าไปยังต่างประเทศได้มากขึ้น และซื้อสินค้าจากต่างประเทศน้อยลง ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นขานรับข่าวที่ว่า วุฒิสภาสหรัฐมีมติด้วยคะแนนเสียง 56 ต่อ 26 รับรองนางเจเน็ต เยลเลน ให้ดำรงตำแหน่งประธานธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) แทนนายเบน เบอร์นันเก้ ที่จะครบวาระการดำรงตำแหน่งในสิ้นเดือนม.ค.นี้ โดยนางเยลเลนจะเป็นสุภาพสตรีคนแรกในประวัติศาสตร์ 100 ปีของเฟดที่ดำรงตำแหน่งสูงสุดของเฟด ราคาทองคำวานนี้ (7 ม.ค.) ปิดลบพอสมควร หลังข้อมูลการค้าของสหรัฐฯส่งผลให้ดอลลาร์แข็งค่าขึ้น โดยราคาทองคำตลาดโคเม็กซ์ ลดลง 8.40 ดอลลาร์ ปิดที่ 1,229.60 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ภาวะการซื้อขายในตลาดทองคำนิวยอร์กเป็นไปอย่างซบเซา เนื่องจากสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ หลังจากกระทรวงพาณิชย์ของสหรัฐรายงานว่า ยอดขาดดุลการค้าสินค้าและบริการของสหรัฐในเดือนพ.ย. ปรับตัวลดลง 12.9% สู่ระดับ 3.425 หมื่นล้านดอลลาร์ จากระดับ 3.933 หมื่นล้านดอลลาร์ในเดือนก่อนหน้า เนื่องจากการส่งออกที่ขยายตัวขึ้นทำสถิติสูงสุด แนะแนวทางการลงทุน ราคายังอยู่ในช่วงของการปรับฐานย่อย อาจจะพิจารณาเข้าซื้อที่บริเวณแนวรับ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินบาท อ่อนค่าทะลุระดับ 33.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ ท่ามกลางบรรยากาศที่ตึงเครียดทางการเมืองในประเทศ และกระแสการแข็งค่าของเงินดอลลาร์ฯ จากแนวโน้มการชะลอมาตรการ QE ของ ธนาคารกลางสหรัฐฯเฟด ขณะที่ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยอาจจะยังไม่ได้รับอานิสงส์อย่างเต็มที่จากเงินบาทที่อ่อนค่า เนื่องจากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังเผชิญความเสี่ยงจากหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากผลกระทบของปัจจัยทางการเมืองที่กดดันบรรยากาศการใช้จ่ายภายในประเทศ ขณะที่การอ่อนค่าของเงินบาทที่ยังเป็นทิศทางที่สอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในภูมิภาค ก็ทำให้ภาคการส่งออกไทยก็ยังไม่มีแต้มต่อที่เพิ่มขึ้นมากนักเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือนจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 33.00-33.24 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 33.294/ บาท/ดอลลาร์
  5. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 7/1/2557 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ 1,222 1,216 1,200 แนวต้าน 1,244 1,253 1,258 สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินบาท อ่อนค่าทะลุระดับ 33.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ ท่ามกลางบรรยากาศที่ตึงเครียดทางการเมืองในประเทศ และกระแสการชะลอมาตรการ QE ของ ธนาคารกลางสหรัฐฯเฟด ขณะที่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยอาจจะยังไม่ได้รับอานิสงส์อย่างเต็มที่จากเงินบาทที่อ่อนค่า เนื่องจากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังเผชิญความเสี่ยงจากหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากผลกระทบของปัจจัยทางการเมืองที่กดดันบรรยากาศการใช้จ่ายภายในประเทศ ขณะที่การอ่อนค่าของเงินบาทที่ยังเป็นทิศทางที่สอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในภูมิภาค ก็ทำให้ภาคการส่งออกไทยก็ยังไม่มีแต้มต่อที่เพิ่มขึ้นมากนักเมื่อเทียบกับคู่แข่ง สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (6 ม.ค.) เนื่องจากนักลงทุนผิดหวังต่อข้อมูลที่บ่งชี้ถึงการชะลอตัวของภาคบริการในสหรัฐ นักลงทุนวิตกกังวลเกี่ยวกับการชะลอตัวของภาคบริการในสหรัฐ โดยสถาบันจัดการด้านอุปทานของสหรัฐ (ISM) เปิดเผยผลสำรวจที่ระบุว่า ดัชนีภาคบริการของสหรัฐในเดือนธ.ค.ปรับตัวลงสู่ระดับ 53.0 จาก 53.9 ในเดือนพ.ย. และดัชนีปรับตัวต่ำกว่าที่นักวิเคราะห์ส่วนใหญ่คาดไว้ที่ 54.5 เพราะได้รับแรงกดดันจากดัชนีคำสั่งซื้อใหม่ของ ISM ที่หดตัวลงแตะ 49.4 ในเดือนธ.ค. จาก 56.4 ในเดือนพ.ย. ซึ่งเป็นการหดตัวครั้งแรกนับแต่กลางปี 2552 สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดลบเมื่อคืนนี้ (6 ม.ค.) นักลงทุนยังระมัดระวังการซื้อขายก่อนที่ทางการสหรัฐจะเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่สำคัญในสัปดาห์นี้ รวมถึงตัวเลขจ้างงานเดือนธ.ค. และรายงานการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) เพื่อประเมินว่าเฟดวางแผนนโยบายการเงินในอนาคตอย่างไร แนะแนวการลงทุน แนะเข้าซื้อที่บริเวณแนวรับ มองว่าอาจจะมีการย่อระหว่างวัน http://www.youtube.com/watch?v=kfXz3BunqRU
  6. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 6/1/2557 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,218 1,210 1,200 แนวต้าน (Resistance) 1,244 1,253 1,258 ค่าเงินบาทปิดทำการเมื่อวันศุกร์ที่ 3มกราคม 2557 อ่อนค่าทะลุระดับ 33.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ ท่ามกลางบรรยากาศที่ตึงเครียดทางการเมืองในประเทศ และกระแสการแข็งค่าของเงินดอลลาร์ฯ จากแนวโน้มการชะลอมาตรการ QE ของ ธนาคารกลางสหรัฐฯเฟด ขณะที่ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยอาจจะยังไม่ได้รับอานิสงส์อย่างเต็มที่จากเงินบาทที่อ่อนค่า เนื่องจากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังเผชิญความเสี่ยงจากหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากผลกระทบของปัจจัยทางการเมืองที่กดดันบรรยากาศการใช้จ่ายภายในประเทศ ขณะที่การอ่อนค่าของเงินบาทที่ยังเป็นทิศทางที่สอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในภูมิภาค ก็ทาให้ภาคการส่งออกไทยก็ยังไม่มีแต้มต่อที่เพิ่มขึ้นมากนักเมื่อเทียบกับคู่แข่ง สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อคืนนี้ (3 ม.ค.) โดยราคายังคงดีดตัวกลับอย่างต่อเนื่องหลังจากที่ร่วงลงอย่างรุนแรงในปี 2556 และปรับตัวขึ้นทั้งหมด 2% ในสัปดาห์นี้ แรงซื้อเก็งกำไรและแรงช้อนซื้อหนุนราคาทองคำปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อคืนนี้ นอกจากนี้ ยังมีสัญญาณของการปรับตัวเพิ่มขึ้นของอุปสงค์ในทองคำแท่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเอเชีย ส่งผลให้ราคาทองคำพุ่งแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 สัปดาห์ ข้อมูลสถิติของสภาทองคำโลกในลอนดอนบ่งชี้ว่า อุปสงค์ในอัญมณี ทองคาแท่ง และ เหรียญกสาปน์ของจีนปรับตัวขึ้น 30% สู่ระดับ 996.3 ตันในช่วง 12 เดือนสิ้นสุด ณ วันที่ 30 ก.ย. ในขณะที่อินเดียซึ่งเป็นประเทศผู้ซื้อรายใหญ่อันดับที่ 2 เพิ่มขึ้น 24% แตะที่ 977.6 ตัน แนะแนวทางการลงทุน ราคาขึ้นทอสอบแนวต้านแล้ว อาจจะมีการพักตัวระหว่างวัน แนะให้ซื้อขายตามกรอบ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินบาทปิดทำการเมื่อวันศุกร์ที่ 3 มกราคม 2557 อ่อนค่าทะลุระดับ 33.00 บาทต่อดอลลาร์ฯ ท่ามกลางบรรยากาศที่ตึงเครียดทางการเมืองในประเทศ และกระแสการแข็งค่าของเงินดอลลาร์ฯ จากแนวโน้มการชะลอมาตรการ QE ของ ธนาคารกลางสหรัฐฯเฟด ขณะที่ ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ประเมินว่า กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยอาจจะยังไม่ได้รับอานิสงส์อย่างเต็มที่จากเงินบาทที่อ่อนค่า เนื่องจากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจยังเผชิญความเสี่ยงจากหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากผลกระทบของปัจจัยทางการเมืองที่กดดันบรรยากาศการใช้จ่ายภายในประเทศ ขณะที่การอ่อนค่าของเงินบาทที่ยังเป็นทิศทางที่สอดคล้องกับสกุลเงินอื่นๆ ในภูมิภาค ก็ทาให้ภาคการส่งออกไทยก็ยังไม่มีแต้มต่อที่เพิ่มขึ้นมากนักเมื่อเทียบกับคู่แข่ง ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือนจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 33.00-33.24 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 33.294/ บาท/ดอลลาร์
  7. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 3/1/2557 แนวโน้มราคาทองคำช่วงเช้า แนวรับ 1,212 1,209 1,200 แนวต้าน 1,242 1,250 1,256 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์ก ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นขานรับข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐ โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนปรับตัวขึ้น 3.5% ในเดือนพ.ย. ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 2% บ่งชี้ว่าการลงทุนและความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจกำลังฟื้นตัวขึ้นจากช่วงไตรมาสสาม ราคาทองฟิวเจอร์พุ่งแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 สัปดาห์หลังจากทำสถิติปรับตัวลงต่อปี สูงที่สุดในรอบ 3 ทศวรรษ ในขณะที่ราคาที่ระดับต่ำสุดในรอบ 6 เดือนได้ดึงดูดแรงซื้อทั้งทองรูปพรรณและสัญญาทองคำจากนักลงทุน สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.2% แตะที่ 1,216.40 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ณ เวลาประมาณ 20.02 น. ตามเวลาประเทศไทย แนะแนวทางการลงทุน เริ่มมีสัญญาณซื้อเข้ามาในตลาดมีมุมมองที่เป็นบวก หากราคาอ่อนตัวลงมาที่แนวรับอาจจะพิจารณาเข้าซื้อ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์ก ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นขานรับข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐ โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนปรับตัวขึ้น 3.5% ในเดือนพ.ย. ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 2% บ่งชี้ว่าการลงทุนและความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจกำลังฟื้นตัวขึ้นจากช่วงไตรมาสสาม ราคาทองฟิวเจอร์พุ่งแตะระดับสูงสุดในรอบ 2 สัปดาห์หลังจากทำสถิติปรับตัวลงต่อปี สูงที่สุดในรอบ 3 ทศวรรษ ในขณะที่ราคาที่ระดับต่ำสุดในรอบ 6 เดือนได้ดึงดูดแรงซื้อทั้งทองรูปพรรณและสัญญาทองคำจากนักลงทุน สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 1.2% แตะที่ 1,216.40 ดอลลาร์ต่อออนซ์ ณ เวลาประมาณ 20.02 น.ตามเวลาประเทศไทย
  8. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 27/12/2556 แนวโน้มราคาทองคำช่วงเช้า แนวรับ 1,177 1,169 1,150 แนวต้าน 1,220 1,226 1,230 เงินบาทเปิดตลาดเช้านี้ที่ระดับ 32.67/69 บาท/ดอลลาร์ ทรงตัวในระดับเดียวกับช่วงปิดตลาดเย็นวานนี้ ก่อนที่เงินบาทจะปรับตัวอ่อนค่ามาทานิวไฮในรอบ 3 ปีที่ระดับ 32.80 บาท/ดอลลาร์ เคลื่อนไหวในทิศทางเดียวกับภูมิภาค เนื่องจากปัจจัยเกี่ยวกับการปรับลดขนาด QE ที่ประธานเฟดออกมาแสดงความเห็นว่าควรที่จะมีการปรับลดมากขึ้น ตลอดจนความกังวลเรื่องสถานการณ์ทางการเมืองในประเทศ ประกอบกับการประกาศลดมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ (คิวอี3) ของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ส่งผลให้เงินดอลลาร์สหรัฐกลับมาแข็งค่าขึ้น ระยะต่อไปคาดว่าเงินบาทจะเคลื่อนไหวทะลุ 33 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งต้องติดตามปัจจัยที่จะกดดันทั้งในและต่างประเทศ ราคาทองคำเปิดตลาดที่ระดับ 1,202 เหรียญ/ออนซ์ และกลับมาปิดช่วงกลางคืนที่ระดับ 1,202 (22.30 น.) เหรียญ/ออนซ์ ค่าเงินบาทปิด 32.60 บาท/ดอลลาร์ ราคาสมาคมเปิดที่ 18,550 บาท กับ 18,650 บาท และกลับมาปิดที่ 18,500 บาท กับ 18,600 บาท ทองคากลับมาแกว่งตัวต่ำกว่า 1,200 เหรียญอีกครั้งในวันนี้ และน่าจะปรับตัวลงไปที่ระดับต่ำสุดในรอบ 6 เดือน ในช่วงการซื้อขายที่เป็นไปอย่างเบาบาง หลังตัวเลขการใช้จ่ายของสหรัฐที่ออกมาดีขึ้นกว่าเดิม กดดันราคาทองคา รายงานคิทโก้ระบุว่า ทองคายังคงให้ทิศทางภาวะหมีขาลงแต่ยังคงมีแรงความต้องการเข้าซื้ออยู่บ้างตลาดเริ่มเบาบางเพราะเข้าใกล้เทศกาลวัน Christmas ที่จะมาถึง ทองคำปิดปรับตัวลดลงและเบาบางจากที่เข้าใกล้เทศกาลวันหยุดยาว และเม็ดเงินถูกโยกย้ายไปยังตลาดหุ้นที่ในเวลานี้ตลาดหุ้นดาวส์โจนและเอส แอนด์พี 500 เป็นภาวะกระทิงขาขึ้น แนะแนวทางการลงทุน ราคาได้ขึ้นมาทดสอบแนวต้านของเมื่อวานนี้แล้ว อาจจะมีการย่อพักตัวระหว่างวัน ให้หาจังหวะเปิด Shot เมื่อราคาทดสอบแนวต้านของวันนี้ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินดอลลาร์ได้ปรับตัวแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ได้ประกาศลดมาตรการผ่อนคลายทางการเงิน (Quantitative Easing : QE) จากจำนวน 85,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน ลงเป็น 75,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน นอกจากนี้ในคืนวันศุกร์ที่ผ่านมา สำนักงานวิเคราะห์เศรษฐกิจของสหรัฐ (Burean of Economic Analysis) ได้ประกาศตัวเลขผลผลิตมวลรวมภายในประเทศประจำไตรมาสที่ 3 ที่ระดับขยายตัว 4.1% สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ระดับ 3.6% ส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มการคาดการณ์ถึงความเป็นไปได้ที่ธนาคารกลางสหรัฐจะลดปริมาณมาตรการผ่อนคลายทางการเงินลงในอนาคต ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 32.65-32.77 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 32.66/68 บาท/ดอลลาร์ แต่อย่างไรก็ตามนักลงทุนยังคงจับตามองตัวเลขเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยได้แก่ ยอดส่งออก นำเข้า ดุลบัญชีการค้า และดุลบัญชีเดินสะพัดประจำเดือนพฤศจิกายน http://www.youtube.com/watch?v=aufH2XmISO4
  9. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 26/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,186 1,177 1,170 แนวต้าน (Resistance) 1,212 1,218 1,226 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (24 ธ.ค.) เนื่องจากนักลงทุนขานรับข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐ รวมถึงยอดสั่งซื้อสินค้าคงทน และยอดขายบ้านใหม่ที่พุ่งขึ้นเกินคาด ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นขานรับข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐ โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนปรับตัวขึ้น 3.5% ในเดือนพ.ย. ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 2% บ่งชี้ว่าการลงทุนและความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจกาลังฟื้นตัวขึ้นจากช่วงไตรมาสสาม สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อคืน (23 ธ.ค.) หลังจากที่ร่วงลง เมื่อวันก่อน สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.เพิ่มขึ้น 10.1 ดอลลาร์ หรือ 0.85% ปิดที่ 1,203.7 ดอลลาร์/ออนซ์ นักลงทุนกลับเข้ามาช้อนซื้อสัญญาทองคำหลังจากที่ราคาร่วงหลุดระดับ 1,200 ดอลลาร์/ออนซ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาคอัญมณีและอุตสาหกรรมผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยหนุนทางเทคนิคต่อราคาทองคำ แต่อย่างไรก็ดี ราคาทองคำยังคงมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเนื่องจากตลาดคาดว่า จะมีการปรับลดขนาดของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณลงอีกในอนาคต บริษัทโกลด์แมน แซคส์ กรุ๊ป อิงค์ ระบุว่า ราคาทองคำมีแนวโน้มที่จะทำสถิติปรับตัวลดลงต่อปีสูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2524 และคาดว่าราคาจะปรับตัวลงแตะ 1,050 ดอลลาร์/ออนซ์ ภายในสิ้นปีหน้า แนะแนวทางการลงทุน ราคาเคลื่อนไหวอยู่ในวงจากัด วอลลุ่มซื้อขายเบาบาง อาจจะต้องรอการประกาศตัวเลขขอรับสวัสดิการว่างงานในคืนนี้เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนราคาทองคา ทิศทางยังคงเป็น Sideway สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินดอลลาร์ได้ปรับตัวแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ได้ประกาศลดมาตรการผ่อนคลายทางการเงิน (Quantitative Easing : QE) จากจานวน 85,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน ลงเป็น 75,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน นอกจากนี้ในคืนวันศุกร์ที่ผ่านมา สานักงานวิเคราะห์เศรษฐกิจของสหรัฐ (Burean of Economic Analysis) ได้ประกาศตัวเลขผลผลิตมวลรวมภายในประเทศประจาไตรมาสที่ 3 ที่ระดับขยายตัว 4.1% สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ระดับ 3.6% ส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มการคาดการณ์ถึงความเป็นไปได้ที่ธนาคารกลางสหรัฐจะลดปริมาณมาตรการผ่อนคลายทางการเงินลงในอนาคต ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือนจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 32.65-32.77 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 32.66/68 บาท/ดอลลาร์ แต่อย่างไรก็ตามนักลงทุนยังคงจับตามองตัวเลขเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยได้แก่ ยอดส่งออก นาเข้า ดุลบัญชีการค้า และดุลบัญชีเดินสะพัดประจาเดือนพฤศจิกายน http://www.youtube.com/watch?v=WPZP4jBkRAI
  10. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 25/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,186 1,177 1,170 แนวต้าน (Resistance) 1,212 1,218 1,226 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (24 ธ.ค.) เนื่องจากนักลงทุนขานรับข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐ รวมถึงยอดสั่งซื้อสินค้าคงทน และยอดขายบ้านใหม่ที่พุ่งขึ้นเกินคาด ดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นขานรับข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐ โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย กระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ยอดสั่งซื้อสินค้าคงทนปรับตัวขึ้น 3.5% ในเดือนพ.ย. ซึ่งเพิ่มขึ้นมากกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์ส่วนใหญ่คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 2% บ่งชี้ว่าการลงทุนและความเชื่อมั่นในภาคธุรกิจกาลังฟื้นตัวขึ้นจากช่วงไตรมาสสาม สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อคืน (23 ธ.ค.) หลังจากที่ร่วงลง เมื่อวันก่อน สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.เพิ่มขึ้น 10.1 ดอลลาร์ หรือ 0.85% ปิดที่ 1,203.7 ดอลลาร์/ออนซ์ นักลงทุนกลับเข้ามาช้อนซื้อสัญญาทองคำหลังจากที่ราคาร่วงหลุดระดับ 1,200 ดอลลาร์/ออนซ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาคอัญมณีและอุตสาหกรรมผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยหนุนทางเทคนิคต่อราคาทองคำ แต่อย่างไรก็ดี ราคาทองคำยังคงมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเนื่องจากตลาดคาดว่า จะมีการปรับลดขนาดของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณลงอีกในอนาคต บริษัทโกลด์แมน แซคส์ กรุ๊ป อิงค์ ระบุว่า ราคาทองคำมีแนวโน้มที่จะทำสถิติปรับตัวลดลงต่อปีสูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2524 และคาดว่าราคาจะปรับตัวลงแตะ 1,050 ดอลลาร์/ออนซ์ ภายในสิ้นปีหน้า แนะแนวทางการลงทุน ราคาอาจจะเป็น Sideway Up อีกสักระยะหนึ่ง วอลลุ่มการซื้อ ขาย อาจจะเบาบาง เนื่องจากเป็นเทศกาลคริสต์มาส (บางหน่วยงานเริ่มปิดทำการแล้ว) สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินดอลลาร์ได้ปรับตัวแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ได้ประกาศลดมาตรการผ่อนคลายทางการเงิน (Quantitative Easing : QE) จากจำนวน 85,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน ลงเป็น 75,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน นอกจากนี้ในคืนวันศุกร์ที่ผ่านมา สำนักงานวิเคราะห์เศรษฐกิจของสหรัฐ (Burean of Economic Analysis) ได้ประกาศตัวเลขผลผลิตมวลรวมภายในประเทศประจาไตรมาสที่ 3 ที่ระดับขยายตัว 4.1% สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ระดับ 3.6% ส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มการคาดการณ์ถึงความเป็นไปได้ที่ธนาคารกลางสหรัฐจะลดปริมาณมาตรการผ่อนคลายทางการเงินลงในอนาคต ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือนจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 32.65-32.77 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 32.66/68 บาท/ดอลลาร์ แต่อย่างไรก็ตามนักลงทุนยังคงจับตามองตัวเลขเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยได้แก่ ยอดส่งออก นำเข้า ดุลบัญชีการค้า และดุลบัญชีเดินสะพัดประจำเดือนพฤศจิกายน http://www.gcap.co.t...ld/pic/head.jpg
  11. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 24/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,186 1,177 1,170 แนวต้าน (Resistance) 1,212 1,218 1,225 ดอลลาร์อ่อนตัวลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักอื่นๆ หลังจากปรับตัวเพิ่มขึ้น 2 วันติดต่อกัน อันเป็นผลมาจากการตัดสินใจปรับลดขนาดมาตรการกระตุ้นของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อคืนวันศุกร์ (20 ธ.ค.) หลังจากที่ร่วงลงอย่างรุนแรงถึง 3.4% เมื่อวันก่อน สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.เพิ่มขึ้น 10.1 ดอลลาร์ หรือ 0.85% ปิดที่ 1,203.7 ดอลลาร์/ออนซ์ นักลงทุนกลับเข้ามาช้อนซื้อสัญญาทองคำหลังจากที่ราคาร่วงหลุดระดับ 1,200 ดอลลาร์/ออนซ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาคอัญมณีและอุตสาหกรรมผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยหนุนทางเทคนิคต่อราคาทองคำ แต่อย่างไรก็ดี ราคาทองคำยังคงมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเนื่องจากตลาดคาดว่า จะมีการปรับลดขนาดของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณลงอีกในอนาคต บริษัทโกลด์แมน แซคส์ กรุ๊ป อิงค์ ระบุว่า ราคาทองคำมีแนวโน้มที่จะทำสถิติปรับตัวลดลงต่อปีสูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2524 และคาดว่าราคาจะปรับตัวลงแตะ 1,050 ดอลลาร์/ออนซ์ ภายในสิ้นปีหน้า แนะแนวทางการลงทุน เช้านี้ราคาอาจจะเคลื่อนไหวในลักษณะ Sideway Down วอลลุ่มการซื้อขายเริ่มเบาบางเนื่องจากใกล้เข้าเทศกาลวันหยุดคริสมาส สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินดอลลาร์ได้ปรับตัวแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก หลังจากที่ธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ได้ประกาศลดมาตรการผ่อนคลายทางการเงิน (Quantitative Easing : QE) จากจำนวน 85,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน ลงเป็น 75,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐต่อเดือน นอกจากนี้ในคืนวันศุกร์ที่ผ่านมา สำนักงานวิเคราะห์เศรษฐกิจของสหรัฐ (Burean of Economic Analysis) ได้ประกาศตัวเลขผลผลิตมวลรวมภายในประเทศประจำไตรมาสที่ 3 ที่ระดับขยายตัว 4.1% สูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ไว้ที่ระดับ 3.6% ส่งผลให้นักลงทุนเพิ่มการคาดการณ์ถึงความเป็นไปได้ที่ธนาคารกลางสหรัฐจะลดปริมาณมาตรการผ่อนคลายทางการเงินลงในอนาคต ในส่วนของค่าเงินบาท ได้ปรับตัวอ่อนค่าลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเทียบกับสกุลเงินดอลลาร์ตั้งแต่ปลายสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยนอกเหนือนจากปัจจัยภายนอกประเทศ ค่าเงินบาทยังได้รับอานิสงส์จากแรงเทขายเงินบาทของนักลงทุน เนื่องจากในสัปดาห์นี้เป็นสัปดาห์สุดท้ายของปี ประกอบกับความไม่แน่นอนทางการเมืองภายในประเทศ โดยในระหว่างวันค่าเงินเคลื่อนไหวอยู่ในกรอบ 32.65-32.77 บาท/ดอลลาร์ ก่อนปิดตลาดที่ 32.66/68 บาท/ดอลลาร์ แต่อย่างไรก็ตามนักลงทุนยังคงจับตามองตัวเลขเศรษฐกิจที่สาคัญของไทยได้แก่ ยอดส่งออก นาเข้า ดุลบัญชีการค้า และดุลบัญชีเดินสะพัดประจำเดือนพฤศจิกายน http://www.youtube.com/watch?v=iqrlhLsiYcs
  12. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 23/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,186 1,177 1,170 แนวต้าน (Resistance) 1,206 1,212 1,218 ดอลลาร์อ่อนตัวลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักอื่นๆ หลังจากปรับตัวเพิ่มขึ้น 2 วันติดต่อกัน อันเป็นผลมาจากการตัดสินใจปรับลดขนาดมาตรการกระตุ้นของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดปรับตัวเพิ่มขึ้นเมื่อคืนวันศุกร์ (20 ธ.ค.) หลังจากที่ร่วงลงอย่างรุนแรงถึง 3.4% เมื่อวันก่อน สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.เพิ่มขึ้น 10.1 ดอลลาร์ หรือ 0.85% ปิดที่ 1,203.7 ดอลลาร์/ออนซ์ นักลงทุนกลับเข้ามาช้อนซื้อสัญญาทองคำหลังจากที่ราคาร่วงหลุดระดับ 1,200 ดอลลาร์/ออนซ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากภาคอัญมณีและอุตสาหกรรมผู้บริโภค ซึ่งเป็นปัจจัยหนุนทางเทคนิคต่อราคาทองคำ แต่อย่างไรก็ดี ราคาทองคำยังคงมีแนวโน้มปรับตัวลดลงเนื่องจากตลาดคาดว่า จะมีการปรับลดขนาดของมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณลงอีกในอนาคต บริษัทโกลด์แมน แซคส์ กรุ๊ป อิงค์ ระบุว่า ราคาทองคามีแนวโน้มที่จะทาสถิติปรับตัวลดลงต่อปีสูงที่สุดนับตั้งแต่ปี 2524 และคาดว่าราคาจะปรับตัวลงแตะ 1,050 ดอลลาร์/ออนซ์ ภายในสิ้นปีหน้า แนะแนวทางการลงทุน หากราคายังไม่สามารถผ่าน $ 1,216 Us/Oz ยังเสี่ยงโดนแรงเทขาย ให้รอจังหวะ ราคาทดสอบแนวต้านแนะเปิด Shot สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ค่าเงินบาทเมื่อคืนวันศุกร์ (20 ธ.ค.) ที่ผ่านมา เปิดตลาดที่ระดับ 32.47/49 บาท/ดอลลาร์ ใกล้เคียงกับช่วงเย็นวันพฤหัสบดีที่ปิดตลาดที่ระดับ 32.46/47 บาท/ดอลลาร์ แนวโน้มเงินบาทยังมีโอกาสอ่อนค่าได้ต่อ หลังจากที่เมื่อคืนวันศุกร์ที่ผ่านมาราคาไปทดสอบระดับ 32.50 บาท/ดอลลาร์ แต่ยังไม่ผ่าน ซึ่งหากผ่านไปได้ในวันนี้ก็จะเป็นการอ่อนค่ามากสุดในรอบ 3 ปี นับตั้งแต่ปี 53 หากค่าเงินบาทอ่อนค่าหลุดระดับ 32.50 ก็จะเป็นการอ่อนค่าสุดในรอบ 3 ปี เพราะช่วงนั้น(3 ปีก่อน)อยู่ที่ 32.48/49 แต่เมื่อคืนไป test ที่ 32.50 แต่ยังไม่ผ่าน วันนี้มีโอกาสจะไป test อีกครั้ง ถ้าผ่านไปได้บาทคงขยับขึ้นไปอีกเยอะพอสมควร เพราะทะลุ 3 ปีขึ้นไป และเห็นเป็นขาขึ้น(อ่อนค่า)ได้ชัดเจน ค่าของเงินบาทเป็นไปในในทิศทางเดียวกับสกุลเงินในภูมิภาคที่อ่อนค่าเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐ จากปัจจัยสำคัญที่ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ได้ตัดสินใจจะทยอยปรับลดมาตรการ QE ลง ซึ่งจะมีผลตั้งแต่ต้นปีหน้า ในขณะที่ปัจจัยการเมืองในประเทศเริ่มอ่อนลงแล้ว ตราบใดที่ยังไม่มีเหตุการณ์ความรุนแรง สกุลเงินเอเชีย ส่วนใหญ่อ่อนค่าลง ตามความกังวลของตลาดก่อนการประชุมของเฟดในสัปดาห์หน้า ซึ่งผู้เล่นในตลาดน่าจะยังไม่เพิ่มการลงทุนในสกุลเงินเอเชียก่อนที่จะมีการประกาศของ FOMC ในสัปดาห์หน้า ทั้งนี้ การตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางในภูมิภาควานนี้(เกาหลีใต้ อินโดนีเซียและ ฟิลิปปินส์) เป็นไปตามคาดและไม่ได้ส่งผลต่อค่าเงินมาก อย่างไรก็ดี เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียซื้อขายใกล้ระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปีที่ 12,040 เทียบกับเงินดอลลาร์ ตามความต้องการดอลลาร์จากภาคธุรกิจที่ต่อเนื่อง ส่วนเงินเปโซอาจจะได้เห็น แนวโน้มที่แข็งแกร่งขึ้นในระยะกลาง หลังจากที่ธนาคารกลางได้เน้นย้าถึงความเชื่อมั่นของการเติบโตที่แข็งแกร่งในปีหน้า และคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แม้ว่าประเทศจะได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่น http://www.youtube.com/watch?v=qP9qTjj6Bko
  13. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 20/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,186 1,177 1,170 แนวต้าน (Resistance) 1,216 1,221 1,227 การแข็งค่าของสกุลเงินดอลลาร์สหรัฐยังเป็นอีกปัจจัยที่ฉุดสัญญาทองคำดิ่งลงด้วย โดยดัชนีดอลลาร์ซึ่งเป็นมาตรวัดความเคลื่อนไหวของดอลลาร์เมื่อเทียบกับ 6 สกุลเงินหลักๆในตะกร้าเงิน พุ่งขึ้นแตะระดับ 80.602 จุด จากวันพุทธที่ระดับ 80.477 จุด อันเนื่องมาจากข่าวเฟดลดวงเงิน QE สัญญาทองคำร่วงลงต่ำกว่าระดับ 1,200 ดอลลาร์/ออนซ์เป็นครั้งแรกนับตั้งแต่เดือนมิ.ย.ปีนี้ เนื่องจากนักลงทุนเทขายหลังจากเฟดมีมติปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในการประชุมครั้งล่าสุดซึ่งเสร็จสิ้นเมื่อวานนี้ ด้วยการปรับลดวงเงินการซื้อพันธบัตรลง 1 หมื่นล้านดอลลาร์ สู่ระดับ 7.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน จากเดิมที่ระดับ 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน แนะแนวทางการลงทุน ระหว่างวันอาจมีการเด้งรีบาวน์ แต่ไม่น่าเกิน $ 1,210 Us/Oz ตัดสถานะตัวที่มีกำไร และเปลี่ยนมาเล่นฝั่ง Shot สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา คาดแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า (16-20 ธ.ค.) อาจเคลื่อนไหวในกรอบ 31.90-32.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ทิศทางมาตรการ QE จากผลการประชุม FOMC (17-18ธ.ค.) ขณะที่ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ผลสำรวจภาคการผลิตของเฟดสาขานิวยอร์ก ผลสำรวจแนวโน้มธุรกิจของเฟดสาขาฟิลาเดลเฟีย ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัยเดือนธ.ค. ดัชนีราคาผู้บริโภค ยอดขายบ้านมือสอง ข้อมูลการเริ่มสร้างบ้าน การอนุญาตก่อสร้าง ดัชนีชี้นำเศรษฐกิจและการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ย. ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิเดือนต.ค. จีดีพีประจำไตรมาส 3/2556 (ประกาศครั้งสุดท้าย) ตลอดจนจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ สกุลเงินเอเชีย ส่วนใหญ่อ่อนค่าลง ตามความกังวลของตลาดก่อนการประชุมของเฟดในสัปดาห์หน้า ซึ่งผู้เล่นในตลาดน่าจะยังไม่เพิ่มการลงทุนในสกุลเงินเอเชียก่อนที่จะมีการประกาศของ FOMC ในสัปดาห์หน้า ทั้งนี้ การตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางในภูมิภาควานนี้(เกาหลีใต้ อินโดนีเซียและ ฟิลิปปินส์) เป็นไปตามคาดและไม่ได้ส่งผลต่อค่าเงินมาก อย่างไรก็ดี เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียซื้อขายใกล้ระดับต่าสุดในรอบ 5 ปี ที่12,040 เทียบกับเงินดอลลาร์ ตามความต้องการดอลลาร์จากภาคธุรกิจที่ต่อเนื่อง ส่วนเงินเปโซอาจจะได้เห็น แนวโน้มที่แข็งแกร่งขึ้นในระยะกลาง หลังจากที่ธนาคารกลางได้เน้นย้าถึงความเชื่อมั่นของการเติบโตที่แข็งแกร่งในปีหน้า และคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แม้ว่าประเทศจะได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่น http://www.youtube.com/watch?v=NOlCcxqOgzA
  14. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 19/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,218 1,212 1,207 แนวต้าน (Resistance) 1,235 1,240 1,252 สกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักจากข้อมูลเศรษฐกิจสหรัฐ ล่าสุดที่มีผลต่อการเคลื่อนไหวของตลาดเงินนิวยอร์กนั้น กระทรวงพาณิชย์สหรัฐระบุว่า ตัวเลขการเริ่มสร้างบ้านเดือนพ.ย.ขยายตัว 22.7% จากเดือนต.ค. สู่ระดับ 1,091,000 ยูนิต ซึ่งสูงกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ และสูงที่สุดในรอบเกือบ 6 ปี โดยได้รับแรงหนุนจากการสร้างบ้านสำหรับครอบครัวเดี่ยวและบ้านสำหรับหลายครอบ ครัวที่ทะยานขึ้นอย่างแข็งแกร่ง โดยธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ตัดสินใจลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ลง 1 หมื่นล้านดอลลาร์ ในการประชุมครั้งล่าสุด โดยจะเริ่มดำเนินการตั้งแต่เดือนม.ค.ปีหน้า สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดบวกเมื่อคืนนี้ (18 ธ.ค.) ก่อนที่นักลงทุนจะรับทราบผลการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) โดยมีการคาดการณ์ว่าเฟดจะปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ครั้งนี้ ในการประชุมเฟดมีมติปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในการประชุมครั้งล่าสุดซึ่งเสร็จสิ้นเมื่อวานนี้ ด้วยการปรับลดวงเงินการซื้อพันธบัตร ลง 1 หมื่นล้านดอลลาร์ สู่ระดับ 7.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน จากเดิมที่ระดับ 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน เนื่องจากเศรษฐกิจฟื้นตัวแข็งแกร่งขึ้น และตลาดแรงงานฟื้นตัวขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่วนตัวเลขการใช้จ่ายภาคครัวเรือนและตัวเลขการลงทุนทางธุรกิจปรับตัวดีขึ้น เช่นกัน แนะแนวทางการลงทุน พิจารณาเข้าซื้อที่บริเวณแนวรับของวัน หากราคายังไม่หลุด 1,200 Us/Oz ยังมีสัญญาณที่เป็นบวก สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา คาดแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า (16-20 ธ.ค.) อาจเคลื่อนไหวในกรอบ 31.90-32.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ทิศทางมาตรการ QE จากผลการประชุม FOMC (17-18ธ.ค.) ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ผลสำรวจภาคการผลิตของเฟดสาขานิวยอร์ก ผลสำรวจแนวโน้มธุรกิจของเฟดสาขาฟิลาเดลเฟีย ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัยเดือนธ.ค. ดัชนีราคาผู้บริโภค ยอดขายบ้านมือสอง ข้อมูลการเริ่มสร้างบ้าน การอนุญาตก่อสร้าง ดัชนีชี้นำเศรษฐกิจและการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ย. ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิเดือนต.ค. จีดีพีประจาไตรมาส 3/2556 (ประกาศครั้งสุดท้าย) ตลอดจนจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ สกุลเงินเอเชีย ส่วนใหญ่อ่อนค่าลง ตามความกังวลของตลาดก่อนการประชุมของเฟดในสัปดาห์หน้า ซึ่งผู้เล่นในตลาดน่าจะยังไม่เพิ่มการลงทุนในสกุลเงินเอเชียก่อนที่จะมีการ ประกาศของ FOMC ในสัปดาห์หน้า ทั้งนี้ การตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางในภูมิภาควานนี้ (เกาหลีใต้ อินโดนีเซียและ ฟิลิปปินส์) เป็นไปตามคาดและไม่ได้ส่งผลต่อค่าเงินมาก อย่างไรก็ดี เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียซื้อขายใกล้ระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี ที่12,040 เทียบกับเงินดอลลาร์ ตามความต้องการดอลลาร์จากภาคธุรกิจที่ต่อเนื่อง ส่วนเงินเปโซอาจจะได้เห็น แนวโน้มที่แข็งแกร่งขึ้นในระยะกลาง หลังจากที่ธนาคารกลางได้เน้นย้ำถึงความเชื่อมั่นของการเติบโตที่แข็งแกร่งใน ปีหน้า และคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แม้ว่าประเทศจะได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่น http://www.youtube.com/watch?v=yStJVmahAOI
  15. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 18/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,218 1,212 1,207 แนวต้าน (Resistance) 1,244 1,252 1,262 เงินบาทเปิดตลาดเช้านี้ที่ระดับ 32.02/03 บาท/ดอลลาร์ ค่อนข้างทรงตัวจากช่วงปิดตลาดเย็นวานนี้ เนื่องจากนักลงทุนจับตารอคอยการประชุมคณะกรรมการกำหนดนโยบายการเงิน(FOMC) ของธนาคารกลางสหรัฐ(FED) ที่จะมีขึ้นในช่วงวันที่ 17-18 ธ.ค.นี้ "คาดว่าวันนี้เงินบาทก็คงนิ่งๆ รอ FOMC ประชุม 2 วัน วันพฤหัสจะทราบผล” สภาวะ ตลาดทองคำเมื่อคืนวานนี้ ราคาได้ปรับลดลงทางเทคนิคอล จากแรงเทขาย จากกลุ่มกองทุน ที่ยังคงวิตกกังวลว่า Fed อาจจะมีมาตราการการปรับลด QE ลงจากการที่ตัวเลขเศรษฐกิจ ทางฝั่งสหรัฐฯ อเมริกา เริ่มส่อเค้าว่าจะฟื้นตัวขึ้นมาแล้ว จะสังเกตุได้จากสกุลเงินดอลล่าร์ เริ่มกลับมาแข็งค่าแล้ว ดังนั้นจึงมีความเป็นไปได้ว่า จากข้อมูลดังกล่าวนั้น อาจจะนามาพิจารณา ในการปรับลดมาตราการดังกล่าวได้ อาจจะทาให้นักลงทุนมีความกังวลต่อตลาดว่า จะมีการเทขายออกมาอีกครั้ง แนะแนวทางการลงทุน หากราคาไม่สามารถผ่าน $1,237 Us/Oz ไปได้ ยังมีโอกาสย่อลงมาทดสอบที่แนวรับอีกครั้งอาจจะพิจารณาเข้าซื้อที่แนวรับดังกล่าว สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา คาดแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า (16-20 ธ.ค.) อาจเคลื่อนไหวในกรอบ 31.90-32.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ทิศทางมาตรการ QE จากผลการประชุม FOMC (17-18ธ.ค.) ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ผลสำรวจภาคการผลิตของเฟดสาขานิวยอร์ก ผลสำรวจแนวโน้มธุรกิจของเฟดสาขาฟิลาเดลเฟีย ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัยเดือนธ.ค. ดัชนีราคาผู้บริโภค ยอดขายบ้านมือสอง ข้อมูลการเริ่มสร้างบ้าน การอนุญาตก่อสร้าง ดัชนีชี้นำเศรษฐกิจและการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ย. ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิเดือนต.ค. จีดีพีประจำไตรมาส 3/2556 (ประกาศครั้งสุดท้าย) ตลอดจนจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ สกุลเงินเอเชีย ส่วนใหญ่อ่อนค่าลง ตามความกังวลของตลาดก่อนการประชุมของเฟดในสัปดาห์หน้า ซึ่งผู้เล่นในตลาดน่าจะยังไม่เพิ่มการลงทุนในสกุลเงินเอเชียก่อนที่จะมีการ ประกาศของ FOMC ในสัปดาห์หน้า ทั้งนี้ การตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางในภูมิภาควานนี้ (เกาหลีใต้ อินโดนีเซียและ ฟิลิปปินส์) เป็นไปตามคาดและไม่ได้ส่งผลต่อค่าเงินมาก อย่างไรก็ดี เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียซื้อขายใกล้ระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี ที่12,040 เทียบกับเงินดอลลาร์ ตามความต้องการดอลลาร์จากภาคธุรกิจที่ต่อเนื่อง ส่วนเงินเปโซอาจจะได้เห็น แนวโน้มที่แข็งแกร่งขึ้นในระยะกลาง หลังจากที่ธนาคารกลางได้เน้นย้าถึงความเชื่อมั่นของการเติบโตที่แข็งแกร่งใน ปีหน้า และคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แม้ว่าประเทศจะได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่น http://www.youtube.com/watch?v=JV6d5k3UWOs
  16. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 17/12/2556 แนวรับ 1,225 1,207 1,193 แนวต้าน 1,255 1,260 1,268 สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา สกุลเงินดอลล่าร์ยังคงแข็งค่าจากความวิตกกังวลได้เพิ่มมากขึ้นหลังจากที่สหรัฐได้เปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่เอื้อต่อการลด QE ออกมาอย่างต่อเนื่อง โดยล่าสุดกระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยว่า ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) ของสหรัฐประจำเดือนพ.ย. ปรับตัวลดลง 0.1% ทำสถิติร่วงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 ซึ่งบ่งชี้ว่าไม่มีแรงกดดันเงินเฟ้อ และเป็นปัจจัยที่เฟดสามารถนำไปประกอบการพิจารณาลด QE สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดบวกเมื่อคืนนี้ (16 ธ.ค.) เพราะได้รับแรงหนุนจากแรงซื้อเก็งกำไร ขณะที่นักลงทุนกาลังจับตาการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ในสัปดาห์นี้อย่างใกล้ชิด นักลงทุนจับตาดูการประชุมเฟดในวันอังคารและวันพุธนี้อย่างใกล้ชิด ขณะที่นักวิเคราะห์คาดว่าเฟดจะชะลอมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณหรือ QE ในการประชุมเดือนนี้เนื่องจากมีการรายงานข้อมูลการจ้างงานเดือนพ.ย.ที่สดใสในสหรัฐ โดยปัจจุบันวงเงิน QE หรือโครงการซื้อพันธบัตรของสหรัฐอยู่ที่ 8.5 หมื่นล้านดอลลาร์ต่อเดือน นอกจากนี้ ข้อมูลภาคการผลิตที่แข็งแกร่งยังเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่สนับสนุนกระแสคาดการณ์ที่ว่าเฟดจะลดขนาด QE โดยเมื่อช่วงค่ำวานนี้ตามเวลาไทย เฟดเปิดเผยว่า การผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ย.ของสหรัฐปรับตัวขึ้น 1.1% ซึ่งพุ่งขึ้นมากที่สุดในรอบ 1 ปี และนับเป็นสัญญาณบ่งชี้ล่าสุดถึงแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ ขณะที่อัตราการใช้กาลังการผลิตเพิ่มขึ้น 0.8% แตะ 79.0% ในเดือนพ.ย กลยุทธ์การลงทุน หากราคาหลุดกรอบ $ 1,239 Us/Oz เทรนด์ระยะสั้นจะปลี่ยนเป็นขาลงอีกครั้ง ตัวเลขเศรษฐกิจสำคัญประจำวันนี้ 20.30 น. ดัชนีราคาผู้บริโภค(ไม่รวมอาหารและพลังงาน) 20.30 น. ดัชนีราคาผู้บริโภค 20.30 น. ดุลบัญชีเดินสะพัด 22.00 น. ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัย http://www.youtube.com/watch?v=xm3stH01o9w
  17. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 16/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,213 1,206 1,180 1,206 แนวต้าน (Resistance) 1,241 1,246 1,254 สกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าขึ้นเล็กน้อย กระทรวงแรงงานสหรัฐเปิดเผยเมื่อคืนนี้ว่า ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) ของสหรัฐประจำเดือนพ.ย. ปรับตัวลดลง 0.1% ทำสถิติร่วงติดต่อกันเป็นเดือนที่ 3 ซึ่งบ่งชี้ว่าไม่มีแรงกดดันเงินเฟ้อ และเป็นปัจจัยที่เฟดสามารถนำไปประกอบการพิจารณาลด QE นักวิเคราะห์กล่าวว่า โดยปกติแล้วความวิตกกังวลเรื่องเฟดลด QE จะทาให้ราคาทองคำปรับตัวลดลง แต่ตอนนี้ตลาดได้ซีมซาบแล้วว่าอาจมีการลด QE ในสัปดาห์หน้า ดังนั้นข้อมูลเศรษฐกิจที่เอื้อต่อการลด QE จึงไม่มีผลต่อตลาดในตอนนี้ สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดดีดตัวขึ้นเมื่อคืนวันศุกร์นี้ (13 ธ.ค.) โดยได้รับแรงหนุนจากแรงซื้อเก็งกำไรหลังราคาทองคำร่วงลงอย่างหนัก 2 วันติดต่อกัน ขณะเดียวกันนักลงทุนกำลังจับตาการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ในสัปดาห์นี้ ซึ่งหลายฝ่ายคาดการณ์ว่าเฟดจะพิจารณาเรื่องการชะลอมาตรการผ่อนคลายเชิง ปริมาณ (QE) แนะแนวทางการลงทุน รอราคาอ่อนตัวค่อยพิจารณาเข้าซื้อที่แนวรับ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา คาดแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์หน้า (16-20 ธ.ค.) อาจเคลื่อนไหวในกรอบ 31.90-32.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ทิศทางมาตรการ QE จากผลการประชุม FOMC (17-18ธ.ค.) ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญ ได้แก่ ผลสำรวจภาคการผลิตของเฟดสาขานิวยอร์ก ผลสำรวจแนวโน้มธุรกิจของเฟดสาขาฟิลาเดลเฟีย ดัชนีตลาดที่อยู่อาศัยเดือนธ.ค. ดัชนีราคาผู้บริโภค ยอดขายบ้านมือสอง ข้อมูลการเริ่มสร้างบ้าน การอนุญาตก่อสร้าง ดัชนีชี้นำเศรษฐกิจและการผลิตภาคอุตสาหกรรมเดือนพ.ย. ข้อมูลเงินทุนไหลเข้าสุทธิเดือนต.ค. จีดีพีประจาไตรมาส 3/2556 (ประกาศครั้งสุดท้าย) ตลอดจนจำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ สกุลเงินเอเชีย ส่วนใหญ่อ่อนค่าลง ตามความกังวลของตลาดก่อนการประชุมของเฟดในสัปดาห์หน้า ซึ่งผู้เล่นในตลาดน่าจะยังไม่เพิ่มการลงทุนในสกุลเงินเอเชียก่อนที่จะมีการ ประกาศของ FOMC ในสัปดาห์หน้า ทั้งนี้ การตัดสินใจคงอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางในภูมิภาควานนี้ (เกาหลีใต้ อินโดนีเซียและ ฟิลิปปินส์) เป็นไปตามคาดและไม่ได้ส่งผลต่อค่าเงินมาก อย่างไรก็ดี เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียซื้อขายใกล้ระดับต่ำสุดในรอบ 5 ปี ที่12,040 เทียบกับเงินดอลลาร์ ตามความต้องการดอลลาร์จากภาคธุรกิจที่ต่อเนื่อง ส่วนเงินเปโซอาจจะได้เห็น แนวโน้มที่แข็งแกร่งขึ้นในระยะกลาง หลังจากที่ธนาคารกลางได้เน้นย้าถึงความเชื่อมั่นของการเติบโตที่แข็งแกร่งใน ปีหน้า และคงอัตราดอกเบี้ยนโยบาย แม้ว่าประเทศจะได้รับผลกระทบจากพายุไต้ฝุ่น http://www.youtube.com/watch?v=A7LVicQFxtw
  18. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 13/12/2556 แนวรับ 1,211 1,198 1,180 แนวต้าน 1,238 1,248 1,255 สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐได้แรงหนุนจากการคาดการณ์ที่ว่าเฟดอาจจะลดขนาด QE หลังจากกระทรวงพาณิชย์สหรัฐเปิดเผยว่า ยอดค้าปลีกเดือนพ.ย.ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.7% มากกว่าที่นักวิเคราะห์คาดว่าจะเพิ่มขึ้น 0.6% และยังทำสถิติปรับตัวเพิ่มขึ้นมากที่สุดในรอบ 5 เดือน เนื่องจากยอดขายยานยนต์และสินค้าประเภทอื่นๆ ปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างแข็งแกร่ง ซึ่งนับเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่าเศรษฐกิจสหรัฐมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (12 ธ.ค.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยยอดค้าปลีกที่แข็งแกร่งเกินคาด ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจจะปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงเมื่อคืนนี้ (12 ธ.ค.) โดยสัญญาทองคำร่วงลงหนักสุดนับตั้งแต่วันที่ 1 ต.ค.ปีนี้ เนื่องจากนักลงทุนวิตกกังวลว่า ธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) จะปรับลดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในการประชุมที่จะมีขึ้นสัปดาห์หน้า สัญญาทองคำตลาด COMEX (Commodity Exchange) ส่งมอบเดือนก.พ.ร่วงลง 32.3 ดอลลาร์ หรือ 2.57% ปิดที่ 1,224.9 ดอลลาร์/ออนซ์ แนะแนวทางการลงทุน ราคาอาจมีการรีบาวน์ขึ้นระหว่างวัน หากราคาดีดขึ้นไม่สามารถผ่าน $ 1,238 Us/Oz ไปได้ อาจจะมีแรงเทขายลงมาอีกครั้ง แนะเปิด Shot ที่บริเวณดังกล่าว http://www.youtube.com/watch?v=VKTMiO2HoPM
  19. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 12/12/2556 แนวรับ 1,240 1,230 1,225 แนวต้าน 1,272 1,279 1,288 สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา นักลงทุนจับตาดูการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ในวันที่ 17-18 ธ.ค.นี้ ซึ่งมีกระแสคาดการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆว่า เฟดอาจจะเริ่มพิจารณาปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ทั้งนี้ ข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐยังคงเป็นปัจจัยที่สนับสนุนการคาดการณ์ดังกล่าวด้วย โดยรายงานล่าสุดของคอนเฟอร์เรนซ์ บอร์ด ระบุว่า ดัชนีแนวโน้มการจ้างงานเดือนพ.ย.ของคอนเฟอร์เรนซ์ บอร์ด เพิ่มขึ้นแตะ 115.21 ทำสถิติสูงสุดนับตั้งแต่เดือนเม.ย. 2551 เงินบาทเปิดตลาดแข็งค่าแตะ 31. บาทต่อดอลล่าร์ หลังการเมืองภายในประเทศเริ่มคลี่คลาย และตัวเลขเศรษฐกิจสำหรับฯ ที่ออกมาดีกว่าที่คาดการณ์ ค่าเงินบาทเปิดตลาดเช้านี้ที่ 32.06 – 32.08 / ดอลล่าร์ แข็งค่าขึ้นแตะ 31 บาท เมื่อเวลา 09.20 และล่าสุด ลงมาอยู่ที่ 32.02 -32.01 ซึ่งวันนี้สามารถรีบาวน์ขึ้นมาได้ โดยอาจจะยืนเหนือ 32.30 บาท ต่อดอลล่าร์ อย่างไรก็ตามคาดว่าในช่วงปลายปีนี้ถึงต้นปีหน้าคาดว่าราคาจะสามรถปรับตัวลงมาได้อีก ทั้งนี้ ได้รับปัจจัยภายในประเทศเข้ามากระทบคือ ประเด็นทางการเมือง ที่นายกรัฐมนตรีประกาศยุบสภา และยังไม่มีความรุนแรงใด ๆ เกิดขึ้น โดยมีแนวโน้มที่จะเปิดโต๊ะ เจรจา เพื่อหาทางออกให้กับปัญหานี้ ซึ่งการหันหน้ามาเจรจากัน เป็นปัจจัยบวกให้กับตลาดอยู่แล้ว ขณะที่ ปัจจัยภายนอกมาจากข้อมูลทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และยุโรปที่ออกมาดี จึงส่งผลให้นักลงทุนลดความกังวลเกี่ยวกับมาตราการ QE และตัดสินใจกลับมาถือสินทรัพย์เสี่ยงอีกครั้ง ด้านราคาทองคำได้มีการดีดตัวขึ้น จากแรงซื้อทางเทคนิคคอล ประกอบกับสัญญาณ สกุลเงินดอลล่าร์ อ่อนค่าลงมาเล็กน้อย ทำให้ราคามีการปรับตัวขึ้นไปทดสอบที่บริเวณแนวต้านของวัน 1,268 ก่อนที่จะมีแรงเทขายทากาไรออกมา ลักษณะอย่างนี้ แรงซื้อยังดีอยู่ จึงมองว่าราคาน่าจะเป็นการย่อเพื่อขึ้นต่อ แนะแนวทางการลงทุน ราคาอาจจะปรับตัวขึ้นได้อีกเล็กน้อยกรณีที่ราคาทา New High ฝั่งซื้อให้ปิดสถานะที่มีกาไร หรือรอ เปิด Shot ที่บริเวณแนวต้าน http://www.youtube.com/watch?v=0zYJSzIW7bI
  20. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 11/12/2556 แนวรับ 1,247 1,240 1,230 แนวต้าน1,272 1,280 1,288 แนะแนวทางการลงทุน ราคาอาจจะมีการพักตัวเพื่อขึ้นต่อ ดังนั้นอาจจะรอเข้าซื้อที่บริเวณแนวรับ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา นักลงทุนจับตาดูการประชุมของธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) ในวันที่ 17-18 ธ.ค.นี้ ซึ่งมีกระแสคาดการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆว่า เฟดอาจจะเริ่มพิจารณาปรับลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ทั้งนี้ ข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งของสหรัฐยังคงเป็นปัจจัยที่สนับสนุนการคาดการณ์ดังกล่าวด้วย โดยรายงานล่าสุดของคอนเฟอร์เรนซ์ บอร์ด ระบุว่า ...ดัชนีแนวโน้มการจ้างงานเดือนพ.ย.ของคอนเฟอร์เรนซ์ บอร์ด เพิ่มขึ้นแตะ 115.21 ทาสถิติสูงสุดนับตั้งแต่เดือนเม.ย. 2551ด้านราคาทองคำได้มีการดีดตัวขึ้น จากแรงซื้อทางเทคนิคคอล ประกอบกับสัญญาณ สกุลเงินดอลล่าร์ อ่อนค่าลงมาเล็กน้อย ทาให้ราคามีการปรับตัวขึ้นไปทดสอบที่บริเวณแนวต้านของวัน 1,268 ก่อนที่จะมีแรงเทขายทำกำไรออกมา ลักษณะอย่างนี้ แรงซื้อยังดีอยู่ จึงมองว่าราคาน่าจะเป็นการย่อเพื่อขึ้นต่อ http://www.youtube.com/watch?v=fzLWz2BZSZs
  21. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 9/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,207 1,200 1,180 แนวต้าน (Resistance) 1,232 1,240 1,256 สกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าขึ้น เมื่อประกาศตัวเลขเศรษฐกิจที่ออกมาแข็งแกร่งกว่าที่คาดการณ์กันไว้ โดยเฉพาะตัวเลขแรงงานสหรัฐรายงานว่า จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ที่สิ้นสุดวันที่ 30 พ.ย.ร่วงลง 23,000 ราย แตะระดับ 298,000 ราย ซึ่งดีกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ว่าจะขยับขึ้นเล็กน้อย นักลงทุนในตลาดการเงินต่างก็จับตาดูกระทรวงแรงงานสหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้าง งานนอกภาคเกษตรเดือนพ.ย.ในวันนี้เวลา 20.30 น.ตามเวลาไทย ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่า ตัวเลขจ้างงานจะเพิ่มขึ้นเพียง 180,000 ตำแหน่งในเดือนพ.ย. หลังจากเพิ่มขึ้น 204,000 ตำแหน่งในเดือนต.ค. และคาดว่าอัตราการว่างงานจะอยู่ที่ 7.2% ในเดือนพ.ย. ลดลงจาก 7.3% ในเดือนต.ค สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงเมื่อคืนนี้ (5 ธ.ค.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง รวมถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ที่ขยายตัวอย่างแข็งแกร่งในไตรมาส 3 ปีนี้ ซึ่งส่งผลให้นักลงทุนลดการถือครองทองคาซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย แนะแนวทางการลงทุน หากราคายังไม่สามารถผ่าน $ 1,237 Us/Oz ยังคงเสี่ยงที่จะโดนแรงเทขายออกมาอีกครั้ง หากจะเข้าซื้ออาจจะต้องพิจารณาที่แนวรับ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์ถัดไป (2-6 ธ.ค.) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.00-32.30 บาทต่อเหรียญสหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญประกอบด้วย ตัวเลขตลาดแรงงาน ดัชนี ISM ภาคการผลิต-ภาคบริการเดือนพ.ย. ยอดสั่งซื้อของโรงงาน ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเดือน ต.ค. ยอดขายบ้านใหม่ รายจ่ายด้านการก่อสร้างเดือนก.ย.และต.ค. ตัวเลขจีดีพีประจำไตรมาส3/2556 (ประกาศครั้งที่ 2) จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจของเฟด ทั้งนี้ สัปดาห์ที่ผ่านมา เงินบาทอ่อนค่าทดสอบระดับ 32.20 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ก่อนฟื้นตัวกลับมาเล็กน้อยท้ายสัปดาห์ โดยเงินบาทร่วงลงท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์ที่ตึงเครียดมากขึ้นของการ เมืองในประเทศ และแรงซื้อเงินเหรียญสหรัฐในช่วงปลายเดือนของกลุ่มผู้นำเข้า นอกจากนี้ แรงขายเงินบาทเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนถึงช่วงกลางสัปดาห์ หลังจากธปท.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายนอกเหนือการคาดการณ์ของตลาด (และส่งสัญญาณที่ค่อนข้างระมัดระวังมากขึ้นในการประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทย ในระยะข้างหน้า)แต่กระนั้น เงินบาทก็ฟื้นตัวกลับมาบางส่วนในช่วงท้ายสัปดาห์ แม้ว่านักลงทุนยังจับตาดูสถานการณ์การเมืองไทยอย่างใกล้ชิด สกุลเงินเอเชีย ปิดผสม เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียแตะระดับ 12,000 ซึ่งอ่อนแอที่สุดในรอบ 5 ปี และเป็นระดับที่มีความสำคัญเชิงจิตวิทยา ส่วนเงินเปโซร่วงลงในขณะที่การเติบโตของจีดีพีของฟิลิปปินส์ในไตรมา ส 3 ออกมาต่ากว่าการคาดการณ์ หรือขยายตัว 7.1%YoY แทน 7.1% ทั้งนี้ เงินริงกิตมาเลเซีย วอนเกาหลีใต้ และ เงินดอลลาร์ไต้หวันแทบไม่เปลี่ยนแปลง เงินวอนยังคงได้รับรงหนุนจากความต้องการจากผู้ส่งออก ทั้งนี้ ผู้เล่นในตลาดกล่าวว่าธนาคารกลางเกาหลีใต้ได้เข้าแทรกแซงในตลาดเพื่อให้ลด ความผันผวนและลดการแข็งค่าของวอน เนื่องจากการส่งออกยังอยู่ในช่วงการฟื้นตัว http://www.youtube.com/watch?v=GL0ylOpLkzY
  22. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 6/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,207 1,200 1,180 แนวต้าน (Resistance) 1,232 1,240 1,256 สกุลเงินดอลล่าร์แข็งค่าขึ้น เมื่อประกาศตัวเลขเศรษฐกิจที่ออกมาแข็งแกร่งกว่าที่คาดการณ์กันไว้ โดยเฉพาะตัวเลขแรงงานสหรัฐรายงานว่า จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานในรอบสัปดาห์ที่สิ้นสุดวันที่ 30 พ.ย.ร่วงลง 23,000 ราย แตะระดับ 298,000 ราย ซึ่งดีกว่าที่นักวิเคราะห์คาดการณ์ว่าจะขยับขึ้นเล็กน้อย นักลงทุนในตลาดการเงินต่างก็จับตาดูกระทรวงแรงงานสหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนพ.ย.ในวันนี้เวลา 20.30 น.ตามเวลาไทย ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่า ตัวเลขจ้างงานจะเพิ่มขึ้นเพียง 180,000 ตำแหน่งในเดือนพ.ย. หลังจากเพิ่มขึ้น 204,000 ตำแหน่งในเดือนต.ค. และคาดว่าอัตราการว่างงานจะอยู่ที่ 7.2% ในเดือนพ.ย. ลดลงจาก 7.3% ในเดือนต.ค สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงเมื่อคืนนี้ (5 ธ.ค.) หลังจากสหรัฐเปิดเผยข้อมูลเศรษฐกิจที่แข็งแกร่ง รวมถึงผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ที่ขยายตัวอย่างแข็งแกร่งในไตรมาส 3 ปีนี้ ซึ่งส่งผลให้นักลงทุนลดการถือครองทองคาซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย แนะแนวทางการลงทุน หากราคายังไม่สามารถผ่าน $ 1,237 Us/Oz ยังคงเสี่ยงที่จะโดนแรงเทขายออกมาอีกครั้ง หากจะเข้าซื้ออาจจะต้องพิจารณาที่แนวรับ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์ถัดไป (2-6 ธ.ค.) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.00-32.30 บาทต่อเหรียญสหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญประกอบด้วย ตัวเลขตลาดแรงงาน ดัชนี ISM ภาคการผลิต-ภาคบริการเดือนพ.ย. ยอดสั่งซื้อของโรงงาน ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเดือน ต.ค. ยอดขายบ้านใหม่ รายจ่ายด้านการก่อสร้างเดือนก.ย.และต.ค. ตัวเลขจีดีพีประจำไตรมาส3/2556 (ประกาศครั้งที่ 2) จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจของเฟด ทั้งนี้ สัปดาห์ที่ผ่านมา เงินบาทอ่อนค่าทดสอบระดับ 32.20 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ก่อนฟื้นตัวกลับมาเล็กน้อยท้ายสัปดาห์ โดยเงินบาทร่วงลงท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์ที่ตึงเครียดมากขึ้นของการเมืองในประเทศ และแรงซื้อเงินเหรียญสหรัฐในช่วงปลายเดือนของกลุ่มผู้นำเข้า นอกจากนี้ แรงขายเงินบาทเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนถึงช่วงกลางสัปดาห์ หลังจากธปท.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายนอกเหนือการคาดการณ์ของตลาด (และส่งสัญญาณที่ค่อนข้างระมัดระวังมากขึ้นในการประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในระยะข้างหน้า)แต่กระนั้น เงินบาทก็ฟื้นตัวกลับมาบางส่วนในช่วงท้ายสัปดาห์ แม้ว่านักลงทุนยังจับตาดูสถานการณ์การเมืองไทยอย่างใกล้ชิด สกุลเงินเอเชีย ปิดผสม เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียแตะระดับ 12,000 ซึ่งอ่อนแอที่สุดในรอบ 5 ปี และเป็นระดับที่มีความสำคัญเชิงจิตวิทยา ส่วนเงินเปโซร่วงลงในขณะที่การเติบโตของจีดีพีของฟิลิปปินส์ในไตรมา ส 3 ออกมาต่ากว่าการคาดการณ์ หรือขยายตัว 7.1%YoY แทน 7.1% ทั้งนี้ เงินริงกิตมาเลเซีย วอนเกาหลีใต้ และ เงินดอลลาร์ไต้หวันแทบไม่เปลี่ยนแปลง เงินวอนยังคงได้รับรงหนุนจากความต้องการจากผู้ส่งออก ทั้งนี้ ผู้เล่นในตลาดกล่าวว่าธนาคารกลางเกาหลีใต้ได้เข้าแทรกแซงในตลาดเพื่อให้ลดความผันผวนและลดการแข็งค่าของวอน เนื่องจากการส่งออกยังอยู่ในช่วงการฟื้นตัว http://www.youtube.com/watch?v=kBjmO5TXMEo
  23. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 4/12/2556 แนวโน้มช่วงบ่าย แนวรับ (Support) 1,207 1,200 1,180 แนวต้าน (Resistance) 1,228 1,233 1,238 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก ๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (3 ธ.ค.) เนื่องจากนักงทุนมีท่าทีระมัดระวังการซื้อขายก่อนที่ทางการสหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตรประจำเดือนพ.ย. และตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ประจำไตรมาส 3 โดยนักลงทุนระมัดระวังการซื้อขายก่อนที่กระทรวงแรงงานสหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนพ.ย.ในวันศุกร์นี้เวลา20.30 น. ตามเวลาไทยซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่าตัวเลขจ้างงานจะเพิ่มขึ้นเพียง180,000 ตำแหน่งในเดือนพ.ย. หลังจากเพิ่มราคาทองคำเคลื่อนไหวในกรอบโดยได้รับแรงหนุนจากจำนวนผู้ที่ขึ้นทะเบียนเป็นบุคคลว่างงานในสเปนปรับตัวลดลงเกือบ 2,500 รายในเดือนพ.ย. ซึ่งถือว่าลดลงเป็นครั้งแรกเมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันนับตั้งแต่ปี 2540 ข้อมูลดังกล่าวเป็นหลักฐานที่บ่งชี้ว่า เศรษฐกิจสเปนกำลังกระเตื้องขึ้น หลังจากที่อยู่ในภาวะถดถอยมานานกว่า 2 ปีจนถึงไตรมาส 3 ที่ผ่านมานี้ และโปรตุเกสแลกเปลี่ยนพันธบัตรมูลค่า 6.64 พันล้านยูโรเพื่อลดการชำระหนี้ที่จะครบกำหนดในอีก 2 ปี ขณะที่รัฐบาลกำลังเตรียมตัวออกจากโครงการรับเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศในปีหน้า ด้วยความพยายามที่จะไม่ขอรับเงินช่วยเหลือครั้งใหม่ อย่างไรก็ตามสำนักงานสถิติแห่งสหภาพยุโรปหรือยูโสแสตทเปิดเผยว่า ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) ของยูโรโซนเดือนต.ค.อ่อนตัวลง 0.5% ขณะที่ดัชนี PPI ของกลุ่มสหภาพยุโรป ร่วงลง 0.6 ในเดือนต.ค. เมื่อเทียบเป็นรายปีแล้ว ดัชนีราคาผู้ผลิตในเดือนต.ค.ลดลง 1.4% และ 1.1% ในยูโรโซน และอียู ตามลำดับ แนะแนวทางการลงทุน ยังคงมีมุมมองเหมือนเมื่อช่วงเช้า ราคายังคง Sideway เพื่อรอปัจจัยข่าวมาสนับสนุน ให้ราคาปรับตัวไปด้านใดด้านหนึ่ง ให้จับตาตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตร ADP และดัชนีฝ่ายจัดซื้อนอกภาคเกษตร ISM ภายในคืนนี้ สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์ถัดไป (2-6 ธ.ค.) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.00-32.30 บาทต่อเหรียญสหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญประกอบด้วย ตัวเลขตลาดแรงงาน ดัชนี ISM ภาคการผลิต-ภาคบริการเดือนพ.ย. ยอดสั่งซื้อของโรงงาน ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเดือน ต.ค. ยอดขายบ้านใหม่ รายจ่ายด้านการก่อสร้างเดือนก.ย.และต.ค. ตัวเลขจีดีพีประจำไตรมาส3/2556 (ประกาศครั้งที่ 2) จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจของเฟด ทั้งนี้ สัปดาห์ที่ผ่านมา เงินบาทอ่อนค่าทดสอบระดับ 32.20 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ก่อนฟื้นตัวกลับมาเล็กน้อยท้ายสัปดาห์ โดยเงินบาทร่วงลงท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์ที่ตึงเครียดมากขึ้นของการเมืองในประเทศ และแรงซื้อเงินเหรียญสหรัฐในช่วงปลายเดือนของกลุ่มผู้นำเข้า นอกจากนี้ แรงขายเงินบาทเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนถึงช่วงกลางสัปดาห์ หลังจากธปท.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายนอกเหนือการคาดการณ์ของตลาด (และส่งสัญญาณที่ค่อนข้างระมัดระวังมากขึ้นในการประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในระยะข้างหน้า) แต่กระนั้น เงินบาทก็ฟื้นตัวกลับมาบางส่วนในช่วงท้ายสัปดาห์ แม้ว่านักลงทุนยังจับตาดูสถานการณ์การเมืองไทยอย่างใกล้ชิด สกุลเงินเอเชียปิดผสม เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียแตะระดับ 12,000 ซึ่งอ่อนแอที่สุดในรอบ 5 ปี และเป็นระดับที่มีความสำคัญเชิงจิตวิทยา ส่วนเงินเปโซร่วงลงในขณะที่การเติบโตของจีดีพีของฟิลิปปินส์ในไตรมาส 3 ออกมาต่ำกว่าการคาดการณ์ หรือขยายตัว 7.1%YoY แทน 7.1% ทั้งนี้ เงินริงกิตตมาเลเซีย วอนเกาหลีใต้ และ เงินดอลลาร์ไต้หวันแทบไม่เปลี่ยนแปลง เงินวอนยังคงได้รับรงหนุนจากความต้องการจากผู้ส่งออก ทั้งนี้ ผู้เล่นในตลาดกล่าวว่า ธนาคารกลางเกาหลีใต้ได้เข้าแทรกแซงในตลาดเพื่อให้ลดความผันผวนและลดการแข็งค่าของวอน เนื่องจากการส่งออกยังอยู่ในช่วงการฟื้นตัว .http://www.youtube.com/watch?v=JH6-sqYuTZs
  24. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 4/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,207 1,200 1,180 แนวต้าน (Resistance) 1,228 1,233 1,238 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลัก ๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (3 ธ.ค.) เนื่องจากนักลงทุนมีท่าทีระมัดระวังการซื้อขาย ก่อนที่ทางการสหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคการเกษตรประจำเดือนพ.ย. และตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) ประจำไตรมาส 3 นักลงทุนระมัดระวังการซื้อขายก่อนที่กระทรวงแรงงานสหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขจ้างงานนอกภาคเกษตรเดือนพ.ย.ในวันศุกร์นี้เวลา 20.30 น. ตามเวลาไทย ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่า ตัวเลขจ้างงานจะเพิ่มขึ้นเพียง 180,000 ตำแหน่งในเดือนพ.ย. หลังจากเพิ่มขึ้น 204,000 ตำแหน่งในเดือนต.ค. และคาดว่าอัตราการว่างงานจะอยู่ที่ 7.2% ในเดือนพ.ย. ลดลงจาก 7.3% ในเดือนต.ค.ส่วนในวันพรุ่งนี้เวลา 20.30 น.ตามเวลาไทย กระทรวงพาณิชย์สหรัฐจะเปิดเผยตัวเลขประมาณการครั้งที่ 2 ของจีดีพีที่แท้จริงประจำไตรมาส 3/2556 ในวันพฤหัสบดีนี้เวลา 20.30 น.ตามเวลาไทย ซึ่งนักวิเคราะห์คาดว่าจีดีพีจะขยายตัว 3.0% ในไตรมาส 3/2556 หลังจากขยายตัว 2.8% ในการประมาณการครั้งแรก สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงอย่างหนักกว่า 2% เมื่อคืนนี้ (2 ธ.ค.) เนื่องจากข้อมูลภาคการผลิตที่แข็งแกร่งของสหรัฐ หลังเศรษฐกิจสหรัฐส่งสัญญาณดีขึ้น ก่อให้เกิดกระแสคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจเริ่มลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในอีกไม่นานนี้ ทำให้นักลงทุนลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย นอกจากนี้ นักลงทุนยังมีท่าทีระมัดระวังการซื้อขายหลังจากมีรายงานว่ายอดการใช้จ่ายของผู้บริโภคลดน้อยลงในช่วงเทศกาลวันขอบคุณพระเจ้า แนะแนวทางการลงทุน ราคาอาจจะแกว่งตัวอยู่ในกรอบระหว่าง $1,220-1,228 Us/Oz ลักษณะ Sideway อาจจะรอประกาศตัวเลขเศรษฐกิจในคืนนี้ เพื่อดูความชัดเจนในเรื่องของทิศทางอีกครั้ง สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์ถัดไป (2-6 ธ.ค.) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.00-32.30 บาทต่อเหรียญสหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญประกอบด้วย ตัวเลขตลาดแรงงาน ดัชนี ISM ภาคการผลิต-ภาคบริการเดือนพ.ย. ยอดสั่งซื้อของโรงงาน ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเดือน ต.ค. ยอดขายบ้านใหม่ รายจ่ายด้านการก่อสร้างเดือนก.ย.และต.ค. ตัวเลขจีดีพีประจำไตรมาส3/2556 (ประกาศครั้งที่ 2) จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจของเฟด ทั้งนี้ สัปดาห์ที่ผ่านมา เงินบาทอ่อนค่าทดสอบระดับ 32.20 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ก่อนฟื้นตัวกลับมาเล็กน้อยท้ายสัปดาห์ โดยเงินบาทร่วงลงท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์ที่ตึงเครียดมากขึ้นของการเมืองในประเทศ และแรงซื้อเงินเหรียญสหรัฐในช่วงปลายเดือนของกลุ่มผู้นำเข้า นอกจากนี้ แรงขายเงินบาทเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนถึงช่วงกลางสัปดาห์ หลังจากธปท.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายนอกเหนือการคาดการณ์ของตลาด (และส่งสัญญาณที่ค่อนข้างระมัดระวังมากขึ้นในการประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในระยะข้างหน้า) แต่กระนั้น เงินบาทก็ฟื้นตัวกลับมาบางส่วนในช่วงท้ายสัปดาห์ แม้ว่านักลงทุนยังจับตาดูสถานการณ์การเมืองไทยอย่างใกล้ชิด สกุลเงินเอเชียปิดผสม เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียแตะระดับ 12,000 ซึ่งอ่อนแอที่สุดในรอบ 5 ปี และเป็นระดับที่มีความสำคัญเชิงจิตวิทยา ส่วนเงินเปโซร่วงลงในขณะที่การเติบโตของจีดีพีของฟิลิปปินส์ในไตรมาส 3 ออกมาต่ำกว่าการคาดการณ์ หรือขยายตัว 7.1%YoY แทน 7.1% ทั้งนี้ เงินริงกิตมาเลเซีย วอนเกาหลีใต้ และ เงินดอลลาร์ไต้หวันแทบไม่เปลี่ยนแปลง เงินวอนยังคงได้รับรงหนุนจากความต้องการจากผู้ส่งออก ทั้งนี้ ผู้เล่นในตลาดกล่าวว่า ธนาคารกลางเกาหลีใต้ได้เข้าแทรกแซงในตลาดเพื่อให้ลดความผันผวนและลดการแข็งค่าของวอน เนื่องจากการส่งออกยังอยู่ในช่วงการฟื้นตัว .
  25. บทวิเคราะห์ทางเทคนิคราคาทองคำ By Gcap Gold ประจำวันที่ 3/12/2556 แนวโน้มช่วงเช้า แนวรับ (Support) 1,207 1,200 1,180 แนวต้าน (Resistance) 1,230 1,236 1,243 สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับสกุลเงินหลักๆ ในการซื้อขายที่ตลาดปริวรรตเงินตรานิวยอร์กเมื่อคืนนี้ (2 ธ.ค.) ขานรับข้อมูลภาคการผลิตที่แข็งแกร่งของสหรัฐ ขณะที่สกุลเงินเยนอ่อนค่าลงหลังจากผู้ว่าการธนาคารกลางญี่ปุ่นส่งสัญญาณว่าอาจจะขยายมาตรการกระตุ้นทางการเงิน สัญญาทองคำตลาดนิวยอร์กปิดร่วงลงอย่างหนักกว่า 2% เมื่อคืนนี้ (2 ธ.ค.) เนื่องจากข้อมูลภาคการผลิตที่แข็งแกร่งของสหรัฐ หลังเศรษฐกิจสหรัฐส่งสัญญาณดีขึ้น ก่อให้เกิดกระแสคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐ (เฟด) อาจเริ่มลดขนาดมาตรการผ่อนคลายเชิงปริมาณ (QE) ในอีกไม่นานนี้ ทำให้นักลงทุนลดการถือครองทองคำซึ่งเป็นสินทรัพย์ที่ปลอดภัย นอกจากนี้ นักลงทุนยังมีท่าทีระมัดระวังการซื้อขายหลังจากมีรายงานว่ายอดการใช้จ่ายของผู้บริโภคลดน้อยลงในช่วงเทศกาลวันขอบคุณพระเจ้า แนะแนวทางการลงทุน เสี่ยงเข้าซื้อ แล้วทำกำไรในจังหวะเด้งรีบาวน์ เหมาะกับการเข้าลงทุนระยะสั้นและระยะกลาง เท่านั้น สรุปภาวะแลกเปลี่ยนเงินตรา ประเมินแนวโน้มค่าเงินบาทสัปดาห์ถัดไป (2-6 ธ.ค.) เงินบาทอาจเคลื่อนไหวในกรอบ 32.00-32.30 บาทต่อเหรียญสหรัฐ โดยต้องจับตาสถานการณ์การเมืองในประเทศ ขณะที่ ตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่สำคัญประกอบด้วย ตัวเลขตลาดแรงงาน ดัชนี ISM ภาคการผลิต-ภาคบริการเดือนพ.ย. ยอดสั่งซื้อของโรงงาน ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเดือน ต.ค. ยอดขายบ้านใหม่ รายจ่ายด้านการก่อสร้างเดือนก.ย.และต.ค. ตัวเลขจีดีพีประจำไตรมาส3/2556 (ประกาศครั้งที่ 2) จำนวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ และรายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจของเฟด ทั้งนี้ สัปดาห์ที่ผ่านมา เงินบาทอ่อนค่าทดสอบระดับ 32.20 บาทต่อเหรียญสหรัฐ ก่อนฟื้นตัวกลับมาเล็กน้อยท้ายสัปดาห์ โดยเงินบาทร่วงลงท่ามกลางความกังวลต่อสถานการณ์ที่ตึงเครียดมากขึ้นของการเมืองในประเทศ และแรงซื้อเงินเหรียญสหรัฐในช่วงปลายเดือนของกลุ่มผู้นำเข้า นอกจากนี้ แรงขายเงินบาทเป็นไปอย่างต่อเนื่องจนถึงช่วงกลางสัปดาห์ หลังจากธปท.ปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายนอกเหนือการคาดการณ์ของตลาด (และส่งสัญญาณที่ค่อนข้างระมัดระวังมากขึ้นในการประเมินแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในระยะข้างหน้า)แต่กระนั้น เงินบาทก็ฟื้นตัวกลับมาบางส่วนในช่วงท้ายสัปดาห์ แม้ว่านักลงทุนยังจับตาดูสถานการณ์การเมืองไทยอย่างใกล้ชิด สกุลเงินเอเชีย ปิดผสม เงินรูเปียห์ของอินโดนีเซียแตะระดับ 12,000 ซึ่งอ่อนแอที่สุดในรอบ 5 ปี และเป็นระดับที่มีความสำคัญเชิงจิตวิทยา ส่วนเงินเปโซร่วงลงในขณะที่การเติบโตของจีดีพีของฟิลิปปินส์ในไตรมา ส 3 ออกมาต่ำกว่าการคาดการณ์ หรือขยายตัว 7.1%YoY แทน 7.1% ทั้งนี้ เงินริงกิตมาเลเซีย วอนเกาหลีใต้ และ เงินดอลลาร์ไต้หวันแทบไม่เปลี่ยนแปลง เงินวอนยังคงได้รับรงหนุนจากความต้องการจากผู้ส่งออก ทั้งนี้ ผู้เล่นในตลาดกล่าวว่าธนาคารกลางเกาหลีใต้ได้เข้าแทรกแซงในตลาดเพื่อให้ลดความผันผวนและลดการแข็งค่าของวอน เนื่องจากการส่งออกยังอยู่ในช่วงการฟื้นตัว
×
×
  • Create New...